วันจันทร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2556

Buddhism and politics and peace-พระพุทธศาสนากับการเมืองและสันติภาพ

มนุษย์ไม่อาจอยู่โดดเดี่ยวตามลำพัง จำเป็นต้องรวมกันอยู่เป็นสังคม เป็นกลุ่มก้อน ดังนั้นจำเป็นต้องจัดระบบในการอยู่ร่วมกัน โดยจะต้องมีฝ่ายปกครอง และอยู่ภายใต้การปกครอง ซึ่งไม่ว่าการปกครองจะเป็นลักษณะใดก็ตามถือว่าเป็น “การเมือง” การเมืองจึงเป็นเรื่องของการปกครอง ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองกับผู้ที่อยู่ภายใต้การปกครองจะผูกมัดสมาชิกทั้งหมดในสังคม 

วัตถุประสงค์ :ของพระพุทธศาสนาก็เพื่อรับใช้และเอื้อประโยชน์แก่มนุษยชาติ 



จะเห็นได้ว่าพระพุทธศาสนามุ่งเน้นสู่การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขแต่การจะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขนั้นสมาชิกของสังคม




 สาราณียธรรม หมายถึง ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความให้ระลึกถึง หมายถึง มีความปรารถนาดีต่อกัน เอื้อเฟื้อเกื้อกูลกัน ดังนี้



 สังคหวัตถุ 4 แปลว่า เครื่องยึดเหนี่ยว มีความหมายว่า คุณธรรมเหล่านี้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจของผู้อื่นไว้ได้

1.ทาน แปลว่า การให้ หมายถึง การแบ่งให้ เฉลี่ยให้ ปันให้ เพื่อแสดงอัธยาศัยไมตรี ผูกสามัคคีกันไว้

2. ปิยวาจา แปลว่า เจรจาอ่อนหวาน หมายถึง พูดคำที่สุภาพ อ่อนโยนและเป็นคำที่มีประโยชน์ที่ผู้ฟังได้ฟังแล้วชื่นใจ สบายใจเห็นประโยชน์ในคำพูด

3. อัตถจริยา แปลว่า ประพฤติประโยชน์ หมายความว่า การบำเพ็ญตนให้เป็นคนมีประโยชน์ต่อผู้อื่น ได้แก่ การไม่สร้างความเดือดร้อนให้แก่เพื่อนมนุษย์ และไม่นิ่งดูดายเมื่อผู้อื่นขอความช่วยเหลือ 

4. สมานัตตา แปลว่า ความเป็นคนมีตนสม่ำเสมอ หมายความว่า ไม่ถือตัว คือไม่หยิ่งจองหองในเมื่อได้ดีมีฐานะ
1. เมตตา คือ ความรักใคร่ ปรารถนาดีอย่างให้เพื่อนมนุษย์มีความสุข

2. กรุณา คือ ความสงสาร คิดช่วยให้พ้นทุกข์  

3. มุทิตา คือความยินดี ในเมื่อผู้อื่นอยู่ดีมีสุข

4. อุเบกขา คือ ความวางใจเป็นกลาง มีจิตใจเที่ยงตรง ไม่เอนเอียง  




 








ที่มา :http://mediacenter.mcu.ac.th/data/caipyo/m5/web/summana/p1.php 
Related Posts Plugin for WordPress, Blogger...

บทความที่ได้รับความนิยม